อาจารย์ ดร. ขวัญฤทัย ครองยุติ (Khwanruethai Krongyut)
E-mail: k.khwanruethai@gmail.com / khwanruethai.kro@crru.ac.th

การศึกษา

  • ระดับปริญญาเอก : ปร.ด. สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) พ.ศ. 2565
  • ระดับปริญญาโท : วท.ม. สาขาอุทยาน นันทนาการ และการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2555
  • ระดับปริญญาตรี : วท.บ. สาขาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ. 2549
  • ประกาศนียบัตรวิชาชีพ : ประกาศนียบัตรมัคคุเทศก์ทั่วไป (ต่างประเทศ) จากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

ผลงานทางวิชาการ

งานเขียน แต่ง และ เรียบเรียงหนังสือ ตำราและเอกสารประกอบการสอน

  • ขวัญฤทัย ครองยุติ. (2560). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับการจัดการการท่องเที่ยว.สำนักวิชาการท่องเที่ยว. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
  • ขวัญฤทัย ครองยุติ. (2558). อาเซียนศึกษา. สำนักวิชาการท่องเที่ยว. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
  • ขวัญฤทัย ครองยุติ. (2555). ระเบียบวิธีวิจัยทางการท่องเที่ยว. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี – ราชมงคลล้านนา เชียงราย
  • Khwanruethai Krongyut. (2013). Research Method in Tourism. Rajamangala University of Technology Lanna.

งานวิจัย บทความทางวิชาการ :

งานวิจัย

  • 2560 แนวทางการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อคนทั้งมวลสำหรับคนพิการและผู้สูงอายุภายในแหล่งท่องเที่ยวเชิงพุทธศาสนาในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย (หัวหน้าโครงการวิจัย) อยู่ระหว่างดำเนินการ
  • 2560 แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริการเรือโดยสารเพื่อการท่องเที่ยวเชียงแสนเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยวอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง (ผู้วิจัยร่วม) อยู่ระหว่างดำเนินการ
  • 2559 แนวทางการสื่อความหมายเพื่อสะท้อนอัตลักษณ์การท่องเที่ยวเชิงเกษตร : กรณีศึกษาดอยวาวี จังหวัดเชียงราย (ผู้วิจัยร่วม)
  • 2559 แนวทางการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของบ้านท่าดีหมี ตำบลเมืองพาน อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย (ผู้วิจัยร่วม)
  • 2559 การพัฒนาศักยภาพยุวมัคคุเทศก์โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีท้องถิ่น ในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (ผู้วิจัยร่วม)
  •  2558 การประเมินและจำแนกช่วงชั้นโอกาสทางด้านนันทนาการในแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ จังหวัดเชียงราย (หัวหน้าโครงการวิจัย)
  • 2557 รูปแบบการให้บริการทางการท่องเที่ยวเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวชาวจีนในจังหวัดเชียงราย (ผู้วิจัยร่วม)
  • 2556 Ecotourism Linked with Forest Restoration, Mae Yao Sub watershed (ผู้วิจัยร่วม)
  • 2556 โครงการเตรียมรับมือและป้องกันผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่อาจมีต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม (ผู้วิจัยร่วม)

บทความวิชาการ

  • Wongpratum, N., Naiyawat, M., Krongyut , K., Poomvichuvech ,D., Saokham , P.,Hiranyarasmeekul, B. (2017). The Potential Assessment for Promoting Agrotourism at Wawee Village, Chiang Rai Province, Thailand. Oral Presentation. The 10th International Academic Conference on Dynamics of Humanities and Social Sciences in Cross-Border Societies. Chiang Rai Rajabhat University.
  • Krongyut, K., Suman, N., Poomvichuvech, D. (2017) Recreation Opportunity Spectrum Classification in Natural Tourism Attractions, Chiang Rai Province. Oral
    Presentation. The 10th International Academic Conference on Dynamics of Humanities and Social Sciences in Cross-Border Societies. Chiang Rai Rajabhat University.
  • Krongyut, K., Suman, N., Poomvichuvech, D. (2016) The Natural Tourism Attraction Potential Evaluation, Chiang Rai Province, Thailand. The 2nd Global Tourism & Hospitality Conference. (14 – 19 May 2016) The Hong Kong Polytecnic University. (Proceeding)
  • ขวัญฤทัย ครองยุติ. (2559).“ช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ” เครื่องมือสำหรับการจัดการ แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ” Journal of Hospitality and Tourism. สำนักวิชาการท่องเที่ยว. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
  • Krongyut, K., Poomvichuvech, D. (2015) The Potential Assessing of Natural Tourism Resources: Ar-Cha Thong Cave Temple, Chiang Rai Province. The International Conference on Sustainable Tourism and Resilient Communities. (6 – 8 May 2015) The Chinese University of Hong Kong. (Proceeding)
  • Dechachai, R., Naiwat, M., Krongyut, K., (2014) Strategies for Developing the School of Tourism Students in Relation to ASEAN Community The International Conference on Sustainable Tourism and Resilience in Urban Environments. (23 -25 April 2014) The Chinese University of Hong Kong. (Proceeding)

สาขาที่ถนัดและสนใจ

อาจารย์ขวัญฤทัย มีความถนัดและสนใจงานวิจัยเกี่ยวกับการจัดการพื้นที่อนุรักษ์ การวางแผนทรัพยากรเพื่อการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และการท่องเที่ยวโดยชุมชน